การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องนี้ไม่ยากครับ วิธีการที่ใช้ในการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวที่ผมจะใช้อธิบายในการสอนนี้ ผมจะใช้การย้ายข้างของสมการเอาน่ะครับ การย้ายข้างทำยังไงนั้น หาอ่านเองน่ะครับในเวบนี้แหล่ะ ผมเขียนบทความเกี่ยวกับการย้ายข้างไว้แล้ว ใช้กล่องค้นหาในเวบหาเองน่ะครับ และก็มีอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยในการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวคือ การคูณไขว้ น่ะครับ การคูณไขว้เป็นยังไงหาอ่านเองน่ะครับ อยู่ในเวบนี้เหมือนกันครับ   มาดูตัวอย่างการแก้สมการเชิงเส้นกันเลยครับ
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว คือสมการที่สามารถจัดให้อยู่ในรูปของ
ax+b=0 เมื่อ a0
a,b เป็นค่าคงตัว และ x เป็นตัวแปร
ข้อสังเกต: สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจะมีเพียงตัวแปรเดียว และเลขชี้กำลังตัวแปรเป็นหนึ่งครับ
ตัวอย่างที่ 1 จงแก้สมการ 3x+5=17
วิธีทำ  3x+5=17
3x=175   ย้าย 5  จากที่เป็นบวกพอย้ายมาอยู่ฝั่งขวาของเครื่องหมายสมการจะกลายเป็น -5  ครับ
3x=12
x=123  ย้าย 3 จากที่คูณอยู่พอย้ายมาอยู่ฝั่งขวาของเครื่องหมายสมการจะกลายเป็นหารครับ
x=4
ตัวอย่างที่ 2 จงแก้สมการ 3x5=1
วิธีทำ 3x5=1
3x=1+5
3x=6
x=63
x=2
ตัวอย่างที่ 3 จงแก้สมการ  5r+15=0
วิธีทำ 5r+15=0
5r=015
5r=15
r=155
r=3
ตัวอย่างที่ 4 จงแก้สมการ  3x25=7+2x
วิธีทำ  3x25=7+2x
3x2x=7+25  ใช้การย้ายข้างน่ะครับ พจน์ไหนที่มีตัวแปรx ก็ย้ายให้ไปอยู่ฝั่งเดียวกันครับ แล้วจบบวกลบกันครับ พจน์ไหนที่เป็นตัวเลขก็ย้ายให้อยู่ฝั่งเดียวกันครับแล้วจับมาบวกหรือมาลบกันครับ
x=7+25
x=35+25
x=375
ตัวอย่างที่ 5 จงแก้สมการ  12+6y=4y
วิธีทำ  12+6y=4y
6y+4y=12
10y=12
y=12×110
y=120
ตัวอย่างที่ 6 จงแก้สมการ 10x17x+3=7x10
วิธีทำ   10x17x+3=7x10
10x7x7x=10+13
(1077)x=12
4x=12
x=124
x=3
ตัวอย่างที่ 7 จงแก้สมการ 2.7x+2.2=2.4x2.6
วิธีทำ  2.7x+2.2=2.4x2.6
2.7x2.4x=2.62.2
(2.72.4)x=4.8
0.3x=4.8
x=4.80.3
x=4.8×100.3×10
x=483
x=16
ตัวอย่างที่ 8 จงแก้สมการ 23x16=12
วิธีทำ 23x16=12
23x=12+16   ย้าย 16 มาบวกครับ
23x=72+16
23x=736
2x=736×3        3 หารอยู่ย้ายมาคูณครับ
2x=732                   
x=732×12      2 คูณอยู่ย้ายมาหารครับ
x=734
ตัวอย่างที่ 9 จงแก้สมการ 4x3(2x4)=4(x+3)10
วิธีทำ 4x3(2x4)=4(x+3)10
4x6x+12=4x+1210   ทางฝั่งซ้ายของเครื่องหมายสมการ นำ -3 คูณเข้าไปในวงเล็บเลยครับ และเช่นกันทางฝั่งขวาของเครื่องหมายสมการนำ 4 คูณเข้าไปในวงเล็บเหมือนกันครับ   เมื่อคูณเข้าแล้วพยายายย้ายข้างครับ พจน์ไหนที่มีตัวแปร x ย้ายให้มาอยู่ฝั่งเดียวกันครับ จะได้
4x6x4x=121012  พจน์ไหนที่เป็นตัวเลข(ค่าคงตัว)ก็ย้ายให้อยู่ฝั่งเดียวกันครับ  จัดการบวกลบกันครับ 
6x=10
x=106
x=106    ตัดทอนให้เป็น เศษส่วนอย่างต่ำ ครับ  โดยการนำ 2 หารทั้งเศษและส่วน
x=53
ตัวอย่างที่ 10 จงแก้สมการ 4(x8)3(5+3x)=8
วิธีทำ 4(x8)3(5+3x)=8
4x32159x=8    ต่อไปย้ายข้างครับ พจน์ไหนที่มีตัวแปรxก็ย้ายให้ไปอยู่ฝั่งเดียวกันครับ พจน์ไหนที่เป็นค่าคงตัวก็ย้ายให้อยู่ฝั่งเดียวกัน เสร็จแล้วก็บวกหรือลบกันครับ
4x9x=8+32+15
(49)x=55
5x=55       -5 คูณอยู่ย้ายไปหารครับ
x=555   ตัดทอนให้เป็น เศษส่วนอย่างต่ำ ครับ โดยการนำ 11 หารทั้งเศษและส่วน
x=11
ตัวอย่างที่ 11 จงแก้สมการ x+23+x4=56
วิธีทำ x+23+x4=56
ข้อนี้ใช้การคูณไขว้มาช่วยในการแก้สมการน่ะครับ เอา 4 คูณกับ x+2 เอา 3 คูณกับ x ตัวส่วนคือ 3×4
ตามรูปนี้เลยครับ
จะได้ ต่อเลยน่ะครับ
4(x+2)+3(x)(3)(4)=56   นำ 4 คูณเข้าไปในวงเล็บเลยน่ะครับ
4x+8+3x12=56
7x+812=56
7x+8=56×12      12 หารอยู่ย้ายไปคูณครับ
7x+8=10
7x=108
7x=2
x=27
เป็นอย่างไรบ้างครับ พอเข้าใจหรือเปล่าครับ ต้องหัดทำแบบฝึกหัดเยอะๆน่ะครับ ทำด้วยตัวเองน่ะครับ

ความคิดเห็น